วารสาร

ข้อมูล 52 รายการ
16 ปีแห่งหารพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมอง
นานาสาระ

16 ปีแห่งหารพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมอง

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) เป็นโรคที่มี อันตรายต่อชีวิต และก่อให้เกิดภาวะพิการ การรักษา โรค stroke เป็น time sensitive กล่าวคือ ผลการ รักษาจะดีหรือไม่ดี จะมีภาวะแทรกซ้อนหรือไม่ขึ้นกับ เวลาหลังจากเริ่มมีอาการจนได้รับการรักษา (onset to treatment time หรือ onset to needle time) และ มีระยะเวลาในการรักษา (golden period) ตั้งแต่เริ่มมี อาการเพียง 270 นาที...

มกราคม - มีนาคม 2567
สารพันปัญหาการให้บริการที่ Emergency Room
นานาสาระ

สารพันปัญหาการให้บริการที่ Emergency Room

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

สารพันปัญหาของการให้บริการที่แผนก ER ของเกือบทุกโรงพยาบาลในประเทศไทย จากแผนก emergency room เป็น every thing room คือ ผู้ป่วยนอกเวลาราชการที่มารับบริการก็ถูกส่งมาที่แผนก ER หมด...

มกราคม - มีนาคม 2567
การดูแลรักษาโรคลมชัก : Made It’s Easy
Topic Review

การดูแลรักษาโรคลมชัก : Made It’s Easy

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย ความชุกประมาณ 7 คนต่อประชากร 1000 คน พบได้ ทุกเพศ ทุกวัย ที่สำคัญ คือ ผู้ป่วยโรคลมชักได้รับผลกระ ทบหลายอย่าง เพราะความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติ ของคนในสังคมที่มีต่อคนที่เป็นลมชัก และต่อโรคลมชัก ยังไม่เหมาะสม ตลอดจนมีแนวทางการห้าม ควบคุมคน ที่เป็นลมชักทำอีกด้วย

มกราคม - มีนาคม 2567
ทำอย่างไรให้สามารถเพิ่ม node การให้บริการโรคหลอดเลือดสอง
Topic Review

ทำอย่างไรให้สามารถเพิ่ม node การให้บริการโรคหลอดเลือดสอง

นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

เป็นที่ทราบว่าการรักษาผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมองด้วยระบบ stroke fast track เป็น วิธการรักษาที่ดี สามารถลดความพิการ และการเสีย ชีวิตลงได้ ได้ประโยชน์ทั้งผู้ป่วย cerebral infarction และ intracerebral hemorrhage...

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
ระบบบริการโรคหลอดเลอดสมองจังหวัดขอนแก่น
Topic Review

ระบบบริการโรคหลอดเลอดสมองจังหวัดขอนแก่น

นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิต อันดับต้นๆ ของสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย และก่อ ให้เกิดความพิการ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ ป่วยและคนในครอบครัว ปัจจุบันการรักษาที่ได้ผลดี คือ การรักษาด้วยระบบทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง หรือ stroke fast track (SFT)

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
การพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองเขตสุขภาพที่ 7
Topic Review

การพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองเขตสุขภาพที่ 7

นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง หรือ stroke เป็นโรคทาง ระบบประสาทที่สำคัญ ก่อให้เกิดความพิการและเสีย ชีวิตของประชากรทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย การรักษา โรคนี้ที่ดีที่สุด คือ การป้องกันไม่ให้เกิดโรคนี้ (primary prevention)...

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทยและเขตสุขภาพที่ 7
Original Article

สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทยและเขตสุขภาพที่ 7

นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) เป็นปัญหา สาธารณสุขที่สำคัญ ก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรง คือ พิการ หรือเสียชีวิต ถึงแม้จะมีการรักษาที่ดีในปัจจุบัน ด้วยระบบบริการ stroke fast track ก็ตาม บทความนี้ นำเสนอสถานการณ์ของโรคในปี 2565 จากฐานข้อมูล ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
การบริหารจัดการการดูแลผู้ป่วยในยุคปกติวิถีใหม่ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
Original Article

การบริหารจัดการการดูแลผู้ป่วยในยุคปกติวิถีใหม่ โรงพยาบาลศรีนครินทร์

สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล, ภาสินี ก้านจักร, สมศักดิ์ เทียมเก่า, แสงจันทร์ นะจะคูณ

ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 ส่งผลต่อระบบสาธารณสุขเป็นอย่างมาก ส่งผล ให้ผู้ป่วยไม่สามารถเข้ารับบริการตรวจ ติดตามการรักษา และรับยาในโรงพยาบาลได้ตามปกติ อีกทั้งบุคคลากร ทางการแพทย์ต้องรับมือกับโรคระบาด การขาดแคลน บุคคลากรทางการแพทย์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการปรับรูปแบบการให้บริการ การดูแลผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงระบบบริการ ทางการแพทย์ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ...

เมษายน - มิถุนายน 2566
การลดภาระงานด้วยการรับยาต่อเนื่อง
นานาสาระ

การลดภาระงานด้วยการรับยาต่อเนื่อง

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

ปัจจุบันภาระงานของแพทย์ พยาบาล เภสัชกร และทีมสหวิชาชีพในโรงพยาบาลของรัฐมีภาระงานที่มาก เพราะผู้ป่วยจำนวนมาก และภาวะขาดแคลนบุคลากร ทางการแพทย์ โดยเฉพาะแพทย์ และพยาบาล มีการขึ้น ปฏิบัติงานต่อเนื่องเวรต่อเวร ไม่ได้นอนต่อเนื่องบางครั้ง 16-24 ชั่วโมง ส่งผลเสียต่อสุขภาพและประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงาน...

มกราคม - มีนาคม 2566
ผู้ป่วยแออัด รอนาน แก้ไขอย่างไร
นานาสาระ

ผู้ป่วยแออัด รอนาน แก้ไขอย่างไร

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

ปัญหาความแออัดของผู้ป่วยในโรงพยาบาล ของรัฐทั้งผู้ป่วยนอก (ตรวจแล้วกลับบ้าน) ผู้ป่วยใน (ผู้ ป่วยที่นอนรักษาในโรงพยาบาล) เป็นปัญหาที่เกิดขึ้น จากความไม่สมดุลระหว่างจำนวนผู้ป่วย ภาระงานของ หมอ พยาบาล ทีมสุขภาพกับความพร้อมของทีมสขุ ภาพ โดยเฉพาะแพทย์ พยาบาลที่ไม่เพียงพอ ไม่พอเหมาะกับ จำนวนผู้ป่วย ภาระงานอื่นๆ ที่ต้องทำก็มีมากด้วย ไม่ใช่ เพียงแค่การรักษาพยาบาลเท่านั้น...

มกราคม - มีนาคม 2566