วารสาร

ข้อมูล 2 รายการ
ผลของการใช้รูปแบบการจัดการรายกรณีต่อผลลัพธ์ระยะต้น ในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก
Original Article

ผลของการใช้รูปแบบการจัดการรายกรณีต่อผลลัพธ์ระยะต้น ในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก

กิตติมา ดงอุทิศ, นงลักษณ์ เมธากาญจนศักดิ์

โรคหลอดเลือดสมองแตก (spontaneous intracerebral hemorrhage) เป็นโรคที่มีความรุนแรง และเป็นการเจ็บป่วยวิกฤตที่คุกคามต่อชีวิต เกิดจาก การที่หลอดเลือดแดงในสมองแตกและมีก้อนเลือดออก กดเบียดเนื้อสมองที่เกิดขึ้นทันทีทันใด จึงเป็นโรคอันดับ ต้นๆ ที่ใช้ระบบบริการแบบฉุกเฉิน ในต่างประเทศพบ ว่ามีอัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลประมาณร้อยละ 27 และมากถึงร้อยละ 40 ที่ 30 วัน ซึ่งมากกว่าโรคหลอด เลือดสมองขาดเลือดถึง 4 เท่า ความชุกของโรคนี้พบได้ 54 ต่อแสนประชากร ในผู้ป่วยที่รอดชีวิตมีความพิการ หลงเหลือถึงร้อยละ 701,2 ส่งผลกระทบระยะยาวทั้งด้าน ร่างกาย ด้านจิตใจของผู้ป่วยและญาติ รวมทั้งค่าใช้จ่ายใน การรักษาที่เพิ่มขึ้นด้วย...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ผลของการใช้รูปแบบการจัดการรายกรณีต่อผลลัพธ์ระยะต้น ในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก - การประเมินระดับความวิตกกังวลและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยใหม่ ที่มารับบริการตรวจวินิจฉัยครั้งแรกที่หน่วยรังสีร่วมรักษาระบบประสาท - ความชุกของผู้มารับบริการคลินิกโรคลมชักในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การป้องกันการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยาในหอผู้ป่วยใน - ความสามารถด้านการบริหารจัดการกับการกระตุ้นด้วยไฟฟ้ากระแสตรงผ่านกะโหลกศีรษะ (Executive Function and Transcranial Direct Current Stimulation) - Problems Persist - PSA 841.500 ng/ml ! - ผมเป็นโควิด-๑๙ !? - Vaccination Strategy for COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565