วารสาร

ข้อมูล 30 รายการ
สารพันปัญหาการให้บริการที่ Emergency Room
นานาสาระ

สารพันปัญหาการให้บริการที่ Emergency Room

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

สารพันปัญหาของการให้บริการที่แผนก ER ของเกือบทุกโรงพยาบาลในประเทศไทย จากแผนก emergency room เป็น every thing room คือ ผู้ป่วยนอกเวลาราชการที่มารับบริการก็ถูกส่งมาที่แผนก ER หมด...

มกราคม - มีนาคม 2567
แนวทางการให้บริการผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ต่อการปรับตัวและการรักษา
Topic Review

แนวทางการให้บริการผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ต่อการปรับตัวและการรักษา

ญาณิพิชย์ เพชรรามพะเนาว์, รณชัย คนบุญ, พรพรรณ โพธิไชยา, เสาวนีย์ ชูจันทร์

โรคมะเร็งเต้านมเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่ สำคัญของประเทศไทย เป็นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับหนึ่งของคนไทย และแนวโน้มการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลกระทบอย่างหนึ่งของระบบการ ดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมคือ ปัญหาการเข้าถึง บริการที่ดีมีคุณภาพ ภาระค่าใช้จ่ายจากการรักษาที่มี ราคาสูง...

มกราคม - มีนาคม 2567
อาการทางคลินิก และปัจจัยที่มีผลต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้ออักเสบจากความผิดปกติจากภูมิคุ้มกันชนิดกล้ามเนื้อตายที่สัมพันธ์กับแอนติบอดี้ชนิดเอสอาพี และเอชเอ็มจีซีอาในสถาบันประสาทวิทยา ประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองเขตสุขภาพที่ 7
Topic Review

การพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองเขตสุขภาพที่ 7

นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง หรือ stroke เป็นโรคทาง ระบบประสาทที่สำคัญ ก่อให้เกิดความพิการและเสีย ชีวิตของประชากรทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย การรักษา โรคนี้ที่ดีที่สุด คือ การป้องกันไม่ให้เกิดโรคนี้ (primary prevention)...

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทยและเขตสุขภาพที่ 7
Original Article

สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทยและเขตสุขภาพที่ 7

นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) เป็นปัญหา สาธารณสุขที่สำคัญ ก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรง คือ พิการ หรือเสียชีวิต ถึงแม้จะมีการรักษาที่ดีในปัจจุบัน ด้วยระบบบริการ stroke fast track ก็ตาม บทความนี้ นำเสนอสถานการณ์ของโรคในปี 2565 จากฐานข้อมูล ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- อาการและอาการแสดงของการแพ้ชนิดรุนแรงในผู้ป่วยเด็กที่รับการรักษา ในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา - สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทยและเขตสุขภาพที่ 7 - โรคหลอดเลือดสมอง - การรักษาโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉียบพลันด้วยยา rtPA - การป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้้อนผู้้ป่่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด - การป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง I

กรกฎาคม - กันยายน 2566
ผลการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันหลังรับการรักษา ด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (rt-PA) ในโรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น
Original Article

ผลการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันหลังรับการรักษา ด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (rt-PA) ในโรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น

สุภัคกาญจน์ นิจพานิช

โรคหลอดเลือดสมอง (cerebrovascular disease, stroke) เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 ของ ประชากรโลก และยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ใน ประเทศไทยพบว่าการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเป็น สาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 เช่นเดียวกัน โดยมีการศึกษา พบว่าความชุกของภาวะรักษาโรคหลอดเลือดสมอง ร้อย ละ 1.88 โดยสาเหตุส่วนใหญ่ที่พบโรคหลอดเลือดสมอง ขาดเลือดเฉียบพลัน (ischemic stroke)...

เมษายน - มิถุนายน 2566
Task Shifting หรือ การมอบหมายงานตามความสามารถ
นานาสาระ

Task Shifting หรือ การมอบหมายงานตามความสามารถ

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

การให้บริบาลในระบบการแพทย์ หรือระบบ สาธารณสุขของประเทศไทยนั้นมีปัญหาด้านขาดแคลน กำลังคน และการกระจายตัวของกำลังคนดังกล่าว โดย เฉพาะแพทย์ พยาบาล จึงมีการมอบหมายงานให้กับ บุคลากรทางการแพทย์ที่มีความสามารถในการทำงาน นั้นที่อาจไม่ใช่หน้าที่ความรับผิดชอบโดยตรง แต่สามารถ ทำงานนั้นทดแทนบุคลากรที่ต้องรับผิดชอบหน้าที่นั้น โดยตรง

มกราคม - มีนาคม 2566
การศึกษาความเสี่ยงต่อการหกล้มในผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาในชุมชน อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
Original Article

การศึกษาความเสี่ยงต่อการหกล้มในผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาในชุมชน อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

อภิฤดี พาผล, อัจฉรา คล้ายมี, อุไร ขลุ่ยนาค

ความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเพิ่มสูงขึ้นตาม อายุ ประกอบกับปัจจุบันประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ (ageing society) โดยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ซึ่งในระยะ 10 ปี มีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นถึง 2,500,000 คน และคาดการณ์ว่าจะสูงถึงร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2568

มกราคม - มีนาคม 2566
ความชุกของผู้มารับบริการคลินิกโรคลมชักในโรงพยาบาลศรีนครินทร์
Original Article

ความชุกของผู้มารับบริการคลินิกโรคลมชักในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

รัตนา อินทะผิว, นันทพรรณ์ ชัยนิรันดร์, สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล, สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบได้ บ่อย และเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ส่งผลกระ ทบอย่างกว้างขวาง ทั่วโลกมีผู้ป่วยลมชักประมาณ 50 ล้านคน โดยร้อยละ 85 เป็นผู้ป่วยที่อาศัยอยู่ในประเทศ กำลังพัฒนา1 อุบัติการณ์ในประเทศไทยพบ 7.2 คน ต่อประชากร 1000 คน อายุที่พบมากเป็นช่วงอายุ 5-9 ปี (17.0 คน ต่อประชากร 1,000 คน) และอายุ 25-34 ปี (17.4 คน ต่อประชากร 1,000 คน) หาก คำนวณจากประชากร 65 ล้านคน คาดว่าจะมีผู้ป่วย ลมชักประมาณ 468,000 คน...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565