วารสาร

ข้อมูล 7 รายการ
การป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง I
Topic Review

การป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง I

นพ.พิพัฒน์ พัฒนพิพิธไพศาล

การป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองมุ่งเน้น การระบุและควบคุมปัจจัยเสี่ยง โดยปัจจัยเสี่ยงแบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 1. ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (non-modifiable risk factors) 2. ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (modifiable risk factors) โดยแบ่งเป็น...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งผุในเด็ก 6 – 8 ปี อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด
Original Article

ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งผุในเด็ก 6 – 8 ปี อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด

นฤพร ชูเสน, ปิยะฉัตร พัชรานุฉัตร, วิลาวัลย์ วีระอาชากุล

โรคฟันผุในเด็กนักเรียนประถมศึกษาเป็นโรค เรือ้ รังที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด เคีย้ วอาหารลำบาก ทำให้ ระบบย่อยอาหารทำงานหนักมากยิ่งขึ้น เด็กบางคนขาด สารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย เป็น อุปสรรคต่อพัฒนาการต่าง ๆ ตลอดจนการเรียนรู้ของ เด็กนักเรียนและยังส่งผลกระทบต่อบุคลิกภาพ ความ เชื่อมั่น และการใช้ชีวิตประจำวันของเด็กนักเรียน

เมษายน - มิถุนายน 2566
ผลของภาวะเลือดขยายตัวสู่ก้านสมอง ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดภาวะเลือดออกในสมอง
Original Article

ผลของภาวะเลือดขยายตัวสู่ก้านสมอง ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดภาวะเลือดออกในสมอง

อนุชิต พันธุ์คงทรัพย์, พิชเยนทร์ ดวงทองพล

ภาวะเลือดออกในสมอง (spontaneous intracerebral hemorrhage) พบได้ร้อยละ 10 – 30 ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) ซึ่งสาเหตุของภาวะเลือดออกในสมองส่วนใหญ่เกิด จากภาวะความดันโลหิตสูง การรักษาผู้ป่วยที่มี ภาวะเลือดออกในสมอง...

มกราคม - มีนาคม 2565
ปัจจัยเสี่ยงโรคพาร์กินสัน
Letter to the Editor

ปัจจัยเสี่ยงโรคพาร์กินสัน

ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร

บทความเรื่องพาราควอตไม่น่ากลัวในวารสาร ประสาทวิทยาศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฉบับที่ 4 เล่มที่ 14 พ.ศ. 2562 หน้า 83-85 ที่วิพากย์ รายงานการศึกษาของนักวิชาการไทย 3 ฉบับ ซึ่งดูว่ายังมีข้อมูลที่อาจใช้ต่อต้านสารกำจัดวัชพืช ยังไม่เพียงพอ จึงขอเสนอรายงานเพิ่มเติมอีกฉบับ ของ Bhidayasiri R, et al. เรื่อง A National Registry to Determine...

เมษายน - มิถุนายน 2563
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- เรื่องของจิตวิญญาณ - อาการไม่พึงประสงค์ที่ควรตระหนัก เมื่อใช้ยากาบาเพนตินขนาดสูงในผู้สูงอายุ - ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยเด็กโรคไตอักเสบลูปัส ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การประเมินกระบวนการปฏิบัติและผลลัพธ์การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน ที่รับบริการในหอผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน - ความสัมพันธ์ระหว่างความผิดปกติของระบบข้อต่อขากรรไกรและกล้ามเนื้อบดเคี้ยวกับภาวะเครียดในคนไทยวัยผู้ใหญ่ - ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงออกแบบผสานกับประสาทวิทยศึกษาศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ ความสามารถสมองเชิงพุทธิปัญญา และความเครียดในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย - ปัจจัยเสี่ยงโรคพาร์กินสัน - เรื่องน่าสนใจของพาราควอต

เมษายน - มิถุนายน 2563
ทำไม PM 2.5 ถึงมีผลเสียต่อหลายอวัยวะ
Recent Advance

ทำไม PM 2.5 ถึงมีผลเสียต่อหลายอวัยวะ

ศิริรัตน์ อนุตระกูลชัย

องค์การอนามัยโลกได้รายงานว่ามลพิษทาง อากาศอาจเป็นปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผล กระทบต่อสุขภาพมากที่สุดในโลก1 จากการ ประเมินผลของโรคที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 2016 พบว่า PM 2.5 ในอากาศภายนอกอาคาร เป็นปัจจัยเสี่ยง ของการเสียชีวิตอันดับที่ 5 ของโลก ซึ่งก่อให้เกิด การเสียชีวิตประมาณ 4.2 ล้านคน...

มกราคม - มีนาคม 2563
โรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมอง
Topic Review

โรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมอง

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคเบาหวานเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของ โรคหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease) และโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) ผู้ป่วยโรค เบาหวานส่วนใหญ่มักมีโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อ การเกิดโรคหลอดเลือดสมองร่วมด้วย ได้แก่ โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือด ผิดปกติ ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคหลอด เลือดสมองมากยิ่งขึ้น

กรกฎาคม - กันยายน 2562