วารสาร

ข้อมูล 59 รายการ
บทบาทของการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะในโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด
Topic Review

บทบาทของการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะในโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด

นพ.ศุภชัย ศรีจันทะ

Malignant Middle Cerebral Artery (MCA) infarction คำนี้ถูกใช้กันตั้งแต่ปี ค.ศ. 1996 โดยอธิบายกลุ่มอาการที่ลักษณะดังต่อไปนี้ เช่น อาการแขนขาอ่อนแรงครึ่งซีก ตาและศรีษะเอียงข้าง (eye and head devviation) มีอาการซึมลง รูม่านตาขยาย และมีภาวะความดันในกะโหลดศีรษะ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- การให้ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อการหกล้มสูง : กรณีศึกษา 3 ราย - การใช้ยาอีลิทริปแทนในการรักษาอาการปวดศีรษะไมเกรนชนิดเฉียบพลัน - บทบาทของการผ่าตัดเปิดกระโหลดศีรษะในโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด

เมษายน - มิถุนายน 2567
16 ปีแห่งหารพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมอง
นานาสาระ

16 ปีแห่งหารพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมอง

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) เป็นโรคที่มี อันตรายต่อชีวิต และก่อให้เกิดภาวะพิการ การรักษา โรค stroke เป็น time sensitive กล่าวคือ ผลการ รักษาจะดีหรือไม่ดี จะมีภาวะแทรกซ้อนหรือไม่ขึ้นกับ เวลาหลังจากเริ่มมีอาการจนได้รับการรักษา (onset to treatment time หรือ onset to needle time) และ มีระยะเวลาในการรักษา (golden period) ตั้งแต่เริ่มมี อาการเพียง 270 นาที...

มกราคม - มีนาคม 2567
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- Clinical characteristics and factors related to outcome in immunemediated necrotizing myopathy associated with anti-SRP and anti-HMGCR antibodies at Neurological Institute of Thailand. - แนวทางการให้บริการผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ ต่อการปรับตัวและการรักษา - การดูแลรักษาโรคลมชัก : Made It’s Easy - สารพันปัญหาการให้บริการที่ Emergency Room - 16 ปีแห่งการพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมอง - สมาธิคลินิก รู้ใจ รู้กาย รู้ชีวิต

มกราคม - มีนาคม 2567
ระบบบริการโรคหลอดเลอดสมองจังหวัดขอนแก่น
Topic Review

ระบบบริการโรคหลอดเลอดสมองจังหวัดขอนแก่น

นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิต อันดับต้นๆ ของสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย และก่อ ให้เกิดความพิการ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ ป่วยและคนในครอบครัว ปัจจุบันการรักษาที่ได้ผลดี คือ การรักษาด้วยระบบทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง หรือ stroke fast track (SFT)

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
การพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองเขตสุขภาพที่ 7
Topic Review

การพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองเขตสุขภาพที่ 7

นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง หรือ stroke เป็นโรคทาง ระบบประสาทที่สำคัญ ก่อให้เกิดความพิการและเสีย ชีวิตของประชากรทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย การรักษา โรคนี้ที่ดีที่สุด คือ การป้องกันไม่ให้เกิดโรคนี้ (primary prevention)...

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
30 ปี การรักษาโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด ย้อนอดีต ปัจจุบัน มุ่งสู่อนาคต
Topic Review

30 ปี การรักษาโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด ย้อนอดีต ปัจจุบัน มุ่งสู่อนาคต

นพ.เกษมสิน ภาวะกุล

โรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดหรือ acute ischemic stroke เป็นสาเหตุหลักของความพิการและ เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตทั่วโลกเป็นอันดับสองตาม ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก พบว่าในปี ค.ศ. 2022 มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เกิดขึ้นใหม่มากกว่า 12 ล้านราย...

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดประสาทวิทยศึกษาศาสตร์ และอภิปัญญาต่อความจำขณะทำงานและความสามารถในการพูดสื่อสาร ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย - 30 ปี การรักษาโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด ย้อนอดีต ปัจจุบัน มุ่งสู่อนาคต - การพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองเขตสุขภาพที่่ 7 - ระบบบริการโรคหลอดเลือดสมองจังหวัดขอนแก่น - ทำอย่างไรให้สามารถเพิ่ม node การให้บริการโรคหลอดเลือดสมอง - การใช้ Siponimod ในการรักษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง

ตุลาคม - ธันวาคม 2566
การป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง I
Topic Review

การป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง I

นพ.พิพัฒน์ พัฒนพิพิธไพศาล

การป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองมุ่งเน้น การระบุและควบคุมปัจจัยเสี่ยง โดยปัจจัยเสี่ยงแบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 1. ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (non-modifiable risk factors) 2. ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (modifiable risk factors) โดยแบ่งเป็น...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
การป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด
Topic Review

การป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด

นพ.พิพัฒน์ พัฒนพิพิธไพศาล

ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองชนิดขาดเลือดนั้น ส่งผลต่อการรักษาทุพพลภาพที่ เกิดขึ้น หรือเพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ ดังนั้นการ ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนหรือการรักษาที่เหมาะ สมจะสามารถช่วยลดผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อผู้ป่วย...

กรกฎาคม - กันยายน 2566