วารสาร

ข้อมูล 3 รายการ
คุณภาพการนอนหลับและปัจจัยที่สัมพันธ์ในนักศึกษาทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 1-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

คุณภาพการนอนหลับและปัจจัยที่สัมพันธ์ในนักศึกษาทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 1-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

วิลาวัลย์ วีระอาชากุล, รัชนีกร เสียงวังเวง, ศุภโชติ อุไรฤกษ์กุล, มนัสวี อรรถวรรธน, ศุภณัฐ วีระอาชากุล

การนอนหลับเป็นกระบวนการทางสรีรวิทยาพื้น ฐานของสิ่งมีชีวิต เพื่อคงไว้ซึ่งสุขภาพดีทั้งร่างกายจิตใจ และการใช้ชีวิตอย่างปกติสุขในการทำกิจกรรมแต่ละวัน โดยเวลาที่หลับจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของ อวัยวะไปในทางผ่อนคลาย คือ ระดับความรู้สึกตัวลดลง การตอบสนองต่อสิ่งเร้าและการเคลื่อนไหวร่างกายน้อย มากหรือไม่มีเลย

มกราคม - มีนาคม 2566
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติ ทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อของนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย
Original Article

ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติ ทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อของนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย

ศุภณัฐ วีระอาชากุล, วิลาวัลย์ วีระอาชากุล

กลุ่มอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้าม เนื้อ (musculoskeletal disorders: MSDs) เป็นกลุ่ม อาการที่ก่อให้เกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับข้อต่อ กล้ามเนื้อ เอ็นกล้ามเนื้อ เอ็นข้อต่อ เส้นประสาทและเนื้อเยื่ออ่อน อื่นๆ อันเนื่องมาจากการทำงาน โดยมีอาการสำคัญคือ มีอาการปวดหรือ เจ็บ เมื่อยล้า เคล็ด ตึง อักเสบ บวม แสบ ชา ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณ ข้อต่อและกล้ามเนื้อ ซึ่งไม่ครอบคลุมอันตรายที่เกิดจาก อุบัติเหตุ หรือโรคต่างๆ เช่น angina pectoris...

เมษายน - มิถุนายน 2565
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบ โครงร่างและกล้ามเนื้อในนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบ โครงร่างและกล้ามเนื้อในนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ศุภณัฐ วีระอาชากุล, วิลาวัลย์ วีระอาชากุล

กลุ่มอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและ กล้ามเนื้อ (musculoskeletal disorders: MSDs) เป็นกลุ่มอาการที่ก่อให้เกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับข้อต่อ กล้ามเนื้อ เอ็นกล้ามเนื้อ เอ็นข้อต่อ เส้นประสาท และเนื้อเยื่ออ่อนอื่นๆ อันเนื่องมาจากการทำงาน โดยมีอาการสำคัญคือมีอาการปวดหรือ เจ็บ เมื่อย ล้า เคล็ด ตึง อักเสบ บวม แสบ ชา ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย...

มกราคม - มีนาคม 2565

Tags

โควิด โควิด-19 กลุ่มอาการภายหลังสมองบาดเจ็บ การกลับเข้าทำงาน การบาดเจ็บสมองที่มีเลือดออกเหนือเยื่อหุ้มสมองดูรา การบาดเจ็บสมองที่มีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองดูรา Limaprost Prostaglandin E1 analogue Thromboangiitis obliterans Lumbar spinal canal stenosis โรคหลอดเลือดอักเสบตีบตัน โรคโพรงกระดูก สันหลังเอวตีบแคบ นักศึกษาแพทย์ชั้นปรีคลินิก ความรอบรู้ การบริการทางด่วนโรคหลอดเลือด สมอง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โรคหลอดเลือดสมอง วัยทำงาน การกลับเข้าทำงาน การดูแลต่อเนื่อง การป้องกัน การกลับเป็นซ้ำ โรคหลอดเลือดสมองตีบหรือ อุดตัน ผลลัพธ์ทางด้านสุขภาพ การได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน ฟันผุในฟันแท้