วารสาร

ข้อมูล 10 รายการ
การใช้ยากันชัก Sodium Valproate ในผู้หญิงโรคลมชัก
Topic Review

การใช้ยากันชัก Sodium Valproate ในผู้หญิงโรคลมชัก

ศิริพร เทียมเก่า

ยากันชัก sodium valproate เป็นยากันชัก ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมอาการชักได้หลาย รูปแบบ ได้แก่ การชักแบบ partial seizures และ generalized seizures เช่น absence seizures และ idiopathic generalized epilepsy จึงเป็น ที่นิยมใช้ในการรักษาโรคลมชัก แต่ก็มีผลการ ศึกษาที่ยืนยันว่ายากันชัก sodium valproate เอง นั้นก็มีผลเสียในการใช้รักษาผู้หญิงวัยเจริญพันธ์ ที่ตั้งครรภ์ พบว่า...

มกราคม - มีนาคม 2565
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ภาพสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองในอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา - ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อในนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ผลของภาวะเลือดขยายตัวสู่ก้านสมองในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดภาวะเลือดออกในสมอง - การใช้ยากันชัก Sodium Valproate ในผู้หญิงโรคลมชัก - ยาที่ควรหลีกเลี่ยงในผู้ป่วยโรคมายแอสทีเนียกราวิส - พิษวิทยาของยา Baclofen ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย - โปรตีนอาหารเสริมป้องกันภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย - บทบาทพืชสมุนไพรต่อภาวะเครียดและระบบภูมิคุ้มกัน - กล้วยกับโรคพาร์ฅินสัน - Time to Act

มกราคม - มีนาคม 2565
อาการไม่พึงประสงค์ที่ควรตระหนัก เมื่อใช้ยากาบาเพนตินขนาดสูงในผู้สูงอายุ
Topic Review

อาการไม่พึงประสงค์ที่ควรตระหนัก เมื่อใช้ยากาบาเพนตินขนาดสูงในผู้สูงอายุ

จันทร์จิรา แก้วหล้า, อุทัยรัตน์ มีอุดมพงศ์

กาบาเพนติน (gabapentin) เป็นยากันชัก ที่สามารถใช้ได้หลายข้อบ่งใช้ รวมถึงเป็นยา อันดับแรกในการรักษาภาวะปวดเหตุพยาธิสภาพ ประสาท (neuropathic pain) ซึ่งมีการใช้อย่าง แพร่หลายในปัจจุบัน

เมษายน - มิถุนายน 2563
ยากันชักเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ : รายงานกรณีศึกษาและทบทวนวรรณกรรม
Interesting Case

ยากันชักเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ : รายงานกรณีศึกษาและทบทวนวรรณกรรม

พลอยลาภ เลิศวิภาภัทร, วรัชญา เอื้อวัฒนะสกุล

ภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ (hyponatremia) คือ ภาวะที่มีการตรวจพบค่าความเข้มข้นของ โซเดียมในเลือดต่ำกว่า 135 มิลลิโมล/ลิตร เป็น ความผิดปกติของเกลือแร่ที่พบได้บ่อยที่สุดใน ผู้ป่วยที่มาตรวจในโรงพยาบาลถึงประมาณ ร้อยละ 15 ถึง 301 ภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ ดังกล่าว มีผลต่อความรุนแรง และอัตราการเกิดทุพพลภาพ และการเสียชีวิตในเวลาต่อมาได้ ดังนั้น จึงเป็นภาวะ ที่ควรตระหนักในการให้การวินิจฉัยและรักษา

เมษายน - มิถุนายน 2563
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- แนวทางการดูแลผู้ป่วย Hemorrhagic Stroke เขตสุขภาพที่ 7 - การอักเสบในภาวะอ้วนและโรคหลอดเลือดสมอง - การพัฒนาเครื่องมือประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดปอดอักเสบในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง - ยากันชักเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ : รายงานกรณีศึกษาและทบทวนวรรณกรรม - Beyond Nicotine Gateway Hypothesis - ปัญหาการจราจรในกรุงเทพมหานครกับการแก้ไข

เมษายน - มิถุนายน 2563
ข้อควรพิจารณาการใช้ยากันชัก levetiracetam ชนิดชื่อสามัญอย่างปลอดภัย
Topic Review

ข้อควรพิจารณาการใช้ยากันชัก levetiracetam ชนิดชื่อสามัญอย่างปลอดภัย

สมศักดิ์ เทียมเก่า,ศิริพร เทียมเก่า

การรักษาโรคลมชักด้วยยากันชักเป็นวิธีที่ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับเนื่องจากเป็นวิธีการรักษาที่ ได้ผลดี และผู้ป่วยส่วนใหญ่ก็สะดวกต่อการรักษา ด้วยยากันชัก ยากันชักในปัจจุบันนั้นมีเป็นจำนวน หลากหลายชนิด ซึ่งยากันชักชื่อ levetiracetam นั้นเป็นยากันชักรุ่นใหม่ (new antiepileptic drugs: new AEDs) ที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน...

มกราคม - มีนาคม 2563
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ทำไม PM 2.5 ถึงมีผลเสียต่อหลายอวัยวะ - ไขความลับของโพลีฟีนอลในการเสริมสร้างความจำ - ข้อควรพิจารณาการใช้ยากันชัก levetiracetam ชนิดชื่อสามัญอย่างปลอดภัย - ความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน กับการเกิดโรคฟันผุในฟันแท้ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น - ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือด ภายหลังได้รับและไม่ได้รับการรักษาด้วยยา rt-PA ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - Topiramate-induced Nephrolithiasis

มกราคม - มีนาคม 2563
การรักษาผู้ป่วยโรคระบบประสาทที่มีปัญหาทางทันตกรรม
Topic Review

การรักษาผู้ป่วยโรคระบบประสาทที่มีปัญหาทางทันตกรรม

สมศักดิ์ เทียมเก่า

ปัญหาทางทันตกรรมนั้นพบได้ในทุกคน รวมถึงผู้ป่วยโรคระบบประสาท ยิ่งมีปัญหาทาง ทันตกรรมที่พบบ่อย และซับซ้อนมากกว่าคนทั่วไป เพราะอาจเป็นอาการนำที่มาพบแพทย์ หรือ ทันตแพทย์ เช่น อาการปวดเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 (Trigeminal neuralgia) หรือเป็นผลข้างเคียง ของยาที่ใช้รักษาโรคระบบประสาท เช่น ภาวะ gum hypertrophy จากการใช้ยากันชัก phenytoin เป็นต้น

กรกฎาคม - กันยายน 2562
การศึกษาแนวโน้มการใช้ยากันชักชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำในผู้ป่วยที่มีภาวะชักต่อเนื่อง
Original Article

การศึกษาแนวโน้มการใช้ยากันชักชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำในผู้ป่วยที่มีภาวะชักต่อเนื่อง

ปาณิศา มานะศิริสุข, นันทพรรณ์ ชัยนิรันดร์, สมศักดิ์ เทียมเก่า, สุณี เลิศสินอุดม

ภาวะชักต่อเนื่อง (status epilepticus; SE) คือ การเกิดภาวะชักซ้ำนานมากกว่า 5 นาที แล้วไม่ หยุดชักและไม่พบการฟื้นคืนสติในช่วงระหว่าง การชัก ซึ่งถือว่าเป็นภาวะฉุกเฉินทางระบบประสาท ส่งผลทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทุพพลภาพและเสีย ชีวิตได้

กรกฎาคม - กันยายน 2562
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 14 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 14 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- การศึกษาแนวโน้มการใช้ยากันชักชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำในผู้ป่วยที่มีภาวะชักต่อเนื่อง - พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่น อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น - ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะไข้ในผู้ป่วยสมองบาดเจ็บระยะ 72 ชั่วโมงแรก และได้รับการผ่าตัดสมอง - โรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดสมอง - การรักษาผู้ป่วยโรคระบบประสาทที่มีปัญหาทางทันตกรรม

กรกฎาคม - กันยายน 2562