วารสาร

ข้อมูล 16 รายการ
การดูแลรักษาโรคลมชัก : Made It’s Easy
Topic Review

การดูแลรักษาโรคลมชัก : Made It’s Easy

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย ความชุกประมาณ 7 คนต่อประชากร 1000 คน พบได้ ทุกเพศ ทุกวัย ที่สำคัญ คือ ผู้ป่วยโรคลมชักได้รับผลกระ ทบหลายอย่าง เพราะความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติ ของคนในสังคมที่มีต่อคนที่เป็นลมชัก และต่อโรคลมชัก ยังไม่เหมาะสม ตลอดจนมีแนวทางการห้าม ควบคุมคน ที่เป็นลมชักทำอีกด้วย

มกราคม - มีนาคม 2567
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- Clinical characteristics and factors related to outcome in immunemediated necrotizing myopathy associated with anti-SRP and anti-HMGCR antibodies at Neurological Institute of Thailand. - แนวทางการให้บริการผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ ต่อการปรับตัวและการรักษา - การดูแลรักษาโรคลมชัก : Made It’s Easy - สารพันปัญหาการให้บริการที่ Emergency Room - 16 ปีแห่งการพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดสมอง - สมาธิคลินิก รู้ใจ รู้กาย รู้ชีวิต

มกราคม - มีนาคม 2567
ความชุกของผู้มารับบริการคลินิกโรคลมชักในโรงพยาบาลศรีนครินทร์
Original Article

ความชุกของผู้มารับบริการคลินิกโรคลมชักในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

รัตนา อินทะผิว, นันทพรรณ์ ชัยนิรันดร์, สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล, สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบได้ บ่อย และเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ส่งผลกระ ทบอย่างกว้างขวาง ทั่วโลกมีผู้ป่วยลมชักประมาณ 50 ล้านคน โดยร้อยละ 85 เป็นผู้ป่วยที่อาศัยอยู่ในประเทศ กำลังพัฒนา1 อุบัติการณ์ในประเทศไทยพบ 7.2 คน ต่อประชากร 1000 คน อายุที่พบมากเป็นช่วงอายุ 5-9 ปี (17.0 คน ต่อประชากร 1,000 คน) และอายุ 25-34 ปี (17.4 คน ต่อประชากร 1,000 คน) หาก คำนวณจากประชากร 65 ล้านคน คาดว่าจะมีผู้ป่วย ลมชักประมาณ 468,000 คน...

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ผลของการใช้รูปแบบการจัดการรายกรณีต่อผลลัพธ์ระยะต้น ในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก - การประเมินระดับความวิตกกังวลและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยใหม่ ที่มารับบริการตรวจวินิจฉัยครั้งแรกที่หน่วยรังสีร่วมรักษาระบบประสาท - ความชุกของผู้มารับบริการคลินิกโรคลมชักในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การป้องกันการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยาในหอผู้ป่วยใน - ความสามารถด้านการบริหารจัดการกับการกระตุ้นด้วยไฟฟ้ากระแสตรงผ่านกะโหลกศีรษะ (Executive Function and Transcranial Direct Current Stimulation) - Problems Persist - PSA 841.500 ng/ml ! - ผมเป็นโควิด-๑๙ !? - Vaccination Strategy for COVID-19

ตุลาคม - ธันวาคม 2565
การพัฒนาเครือข่ายโรคลมชัก
บทปกิณกะ

การพัฒนาเครือข่ายโรคลมชัก

ศ.นพ.สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคที่พบบ่อยโรคหนึ่งทางระบบ ประสาท ความชุกพบประมาณ 7.2 ต่อประชากร 1,000 คน ผู้ป่วยโรคลมชักต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ มากมาย ทั้งจากตัวโรคเอง การเข้าใจที่ไม่ถูกต้องของประชาชน ทั่วไปที่มีต่อผู้ป่วยและต่อโรคลมชัก ส่งผลให้ผู้ป่วยมี คุณภาพชีวิตที่ไม่ดีเมื่อเทียบกับคนทั่วไป

กรกฎาคม - กันยายน 2565
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- การดำเนินงานระบบเครือข่ายส่งต่อช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมองโรงพยาบาลบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ : สู่ก้าวต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพ - การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างความรู้ด้านการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น - ความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง - สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมอง - การพัฒนาเครือข่ายโรคลมชัก - คำแนะนำสำหรับผู้เขียนบทความลงตีพิมพ์วารสาร สมาคมประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

กรกฎาคม - กันยายน 2565
การใช้ยากันชัก Sodium Valproate ในผู้หญิงโรคลมชัก
Topic Review

การใช้ยากันชัก Sodium Valproate ในผู้หญิงโรคลมชัก

ศิริพร เทียมเก่า

ยากันชัก sodium valproate เป็นยากันชัก ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมอาการชักได้หลาย รูปแบบ ได้แก่ การชักแบบ partial seizures และ generalized seizures เช่น absence seizures และ idiopathic generalized epilepsy จึงเป็น ที่นิยมใช้ในการรักษาโรคลมชัก แต่ก็มีผลการ ศึกษาที่ยืนยันว่ายากันชัก sodium valproate เอง นั้นก็มีผลเสียในการใช้รักษาผู้หญิงวัยเจริญพันธ์ ที่ตั้งครรภ์ พบว่า...

มกราคม - มีนาคม 2565
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ภาพสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองในอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา - ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อในนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ผลของภาวะเลือดขยายตัวสู่ก้านสมองในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดภาวะเลือดออกในสมอง - การใช้ยากันชัก Sodium Valproate ในผู้หญิงโรคลมชัก - ยาที่ควรหลีกเลี่ยงในผู้ป่วยโรคมายแอสทีเนียกราวิส - พิษวิทยาของยา Baclofen ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย - โปรตีนอาหารเสริมป้องกันภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย - บทบาทพืชสมุนไพรต่อภาวะเครียดและระบบภูมิคุ้มกัน - กล้วยกับโรคพาร์ฅินสัน - Time to Act

มกราคม - มีนาคม 2565
โรคลมชักในผู้หญิงและผลกระทบ
Topic Review

โรคลมชักในผู้หญิงและผลกระทบ

ศิริพร เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคระบบประสาทที่พบบ่อย อุบัติการโรคลมชักในผู้หญิงทั่วโลกประมาณ 6.85 คน ต่อผู้หญิง 1,000 คน การรักษาโรคลมชัก ในผู้หญิงนั้นมีความจำเพาะและแตกต่างจากการ รักษาโรคลมชักในกรณีอื่นๆ

กรกฎาคม - กันยายน 2564
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 16 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 16 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- การรักษาภาวะความดันในโพรงกะโหลกศีรษะสูง - โรคลมชักในผู้หญิงและผลกระทบ - การควบคุมความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง - เครื่องมือประเมินความแออัดที่ห้องฉุกเฉิน:การทบทวนวรรณกรรม - เปรียบเทียบผลของไฟฟ้ากระแสตรงผ่านกะโหลกศีรษะ ระหว่าง 5 กับ 20 รอบการกระตุ้นร่วมกับการฝึกโปรแกรมพิเศษ ในโรคออทิซึมสเปกตรัม การทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุม - สถานการณ์และผลลัพธ์ของการดูแลต่อเนื่องผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันในชุมชน - สัดส่วนนักศึกษาแพทย์ชั้นปรีคลินิกที่มีความรอบรู้ต่อการบริการทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง ในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - Global Warming Helps Cholera

กรกฎาคม - กันยายน 2564