วารสาร

ข้อมูล 12 รายการ
การศึกษาความเสี่ยงต่อการหกล้มและการดูแลตนเองเพื่อป้องกัน การหกล้มในผู้สูงอายุ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
Original Article

การศึกษาความเสี่ยงต่อการหกล้มและการดูแลตนเองเพื่อป้องกัน การหกล้มในผู้สูงอายุ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

กฤตกร หมั่นสะเกษ,วีไลรัตน์ สอดโคกสูง,อภิฤดี พาผล

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเสี่ยงต่อการหกล้ม และการ ป้องกันการหกล้มความในผู้สูงอายุ อำเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นผู้สูงอายุ ที่อยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดนครรราชสีมา ตั้งแต่เดือน สิงหาคม-กันยายน 2566 เครื่องมือที่ไข้ในการศึกษาเป็น แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความเสี่ยง...

มกราคม - มีนาคม 2568
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- โครงการพัฒนางาน ผลของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยหลัก 3อ 2ส ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมโรคไม่ได้ในชุมชน หน่วยปฐมภูมิสามเหลี่ยม - ค่าดัชนีไตรกลีเซอไรด์-กลูโคส (TyG) ต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลันในโรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา - การศึกษาความเสี่ยงต่อการหกล้มและการดูแลตนเองเพื่อป้องกัน การหกล้มในผู้สูงอายุ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

มกราคม - มีนาคม 2568
การให้ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อการหกล้มสูง : กรณีศึกษา 3 ราย
Original Article

การให้ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อการหกล้มสูง : กรณีศึกษา 3 ราย

อภิฤดี พาผล

จังหวัดนครราชสีมา มีประชากร 2,631,910 คน เป็นประชากรผู้สูงอายุ 398,743 คน คิดเป็น ร้อยละ 14.01 ได้รับการคัดกรอง ADL จำนวน 310,374 คน ร้อยละ 84.71 เป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม 302,683 คน ร้อยละ 97.52 ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน 5,665 คน ร้อยละ 1.83 ผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง 2,026 ร้อยละ 0.65 ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- การให้ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อการหกล้มสูง : กรณีศึกษา 3 ราย - การใช้ยาอีลิทริปแทนในการรักษาอาการปวดศีรษะไมเกรนชนิดเฉียบพลัน - บทบาทของการผ่าตัดเปิดกระโหลดศีรษะในโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด

เมษายน - มิถุนายน 2567
การศึกษาความเสี่ยงต่อการหกล้มในผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาในชุมชน อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
Original Article

การศึกษาความเสี่ยงต่อการหกล้มในผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาในชุมชน อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

อภิฤดี พาผล, อัจฉรา คล้ายมี, อุไร ขลุ่ยนาค

ความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเพิ่มสูงขึ้นตาม อายุ ประกอบกับปัจจุบันประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ (ageing society) โดยมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ซึ่งในระยะ 10 ปี มีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นถึง 2,500,000 คน และคาดการณ์ว่าจะสูงถึงร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2568

มกราคม - มีนาคม 2566
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- 14 ปี เส้นทางการเรียนรู้และพัฒนา Stroke Fast Track ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - กิจกรรมด้านสุขภาพอนามัย ของราชบัณฑิตยสภาในช่วง ๑๐๐ ปี - Obituary: Dr. Athasit Vejjajiva and I (1952-2023) - การศึกษาความเสี่ยงต่อการหกล้มในผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาในชุมชน อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี - คุณภาพการนอนหลับและปัจจัยที่สัมพันธ์ในนักศึกษาทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 1-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - Common Frustration in Emergency Neurological Conditions - การประยุกต์ใช้ดัชนีการต้านอนุมูลอิสระ และดัชนีต้านการอักเสบในการชะลอความจำเสื่อม - Task Shifting หรือ การมอบหมายงานตามความสามารถ - การแก้ปัญหาชั่วโมงการทำงานเกินเกณฑ์ภาระงานที่ควรจะเป็น - การรับการรักษาเบื้องต้นที่ร้านยาคุณภาพใกล้บ้าน - ความในใจของแพทย์ พยาบาล - บัตรทองเพิ่มบริการ "เภสัชกรรมปฐมภูมิ" - ผู้ป่วยแออัด รอนาน แก้ไขอย่างไร - การลดภาระงานด้วยการรับยาต่อเนื่อง

มกราคม - มีนาคม 2566
โปรตีนอาหารเสริมป้องกันภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
Topic Review

โปรตีนอาหารเสริมป้องกันภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย

จันทร์ทิพย์ คำแหง, วิภาวี ทูคำมี

ปัจจุบันประเทศไทยที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ อย่างเต็มรูปแบบ ปัญหาสุขภาพที่พบมากใน ผู้สูงอายุอีกปัญหาหนึ่งคือกลุ่มอาการของผู้สูงอายุ (geriatric syndrome) มักเกิดปัญหาภาวะมวล กล้ามเนื้อน้อย (sarcopenia) ที่ส่งผลต่อการ ใช้ชีวิตประจำวัน อันเนื่องจากการสูญเสียมวล กล้ามเนื้อ...

มกราคม - มีนาคม 2565
ภาพสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ในอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
Original Article

ภาพสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ในอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

ปทิตตา ทรวงโพธิ์, สุพร วงค์ประทุม, วินัฐ ดวงแสนจันทร์

โรคหลอดเลือดสมอง (cerebrovascular disease หรือ stroke) หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบได้บ่อยและเป็น ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลก เนื่องจากเป็น สาเหตุของการเสียชีวิตและเกิดความพิการจาก ความเสื่อมของหลอดเลือดแดงทั่วร่างกาย (atherosclerosis)

มกราคม - มีนาคม 2565
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ภาพสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองในอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา - ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อในนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ผลของภาวะเลือดขยายตัวสู่ก้านสมองในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดภาวะเลือดออกในสมอง - การใช้ยากันชัก Sodium Valproate ในผู้หญิงโรคลมชัก - ยาที่ควรหลีกเลี่ยงในผู้ป่วยโรคมายแอสทีเนียกราวิส - พิษวิทยาของยา Baclofen ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย - โปรตีนอาหารเสริมป้องกันภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย - บทบาทพืชสมุนไพรต่อภาวะเครียดและระบบภูมิคุ้มกัน - กล้วยกับโรคพาร์ฅินสัน - Time to Act

มกราคม - มีนาคม 2565
อาการไม่พึงประสงค์ที่ควรตระหนัก เมื่อใช้ยากาบาเพนตินขนาดสูงในผู้สูงอายุ
Topic Review

อาการไม่พึงประสงค์ที่ควรตระหนัก เมื่อใช้ยากาบาเพนตินขนาดสูงในผู้สูงอายุ

จันทร์จิรา แก้วหล้า, อุทัยรัตน์ มีอุดมพงศ์

กาบาเพนติน (gabapentin) เป็นยากันชัก ที่สามารถใช้ได้หลายข้อบ่งใช้ รวมถึงเป็นยา อันดับแรกในการรักษาภาวะปวดเหตุพยาธิสภาพ ประสาท (neuropathic pain) ซึ่งมีการใช้อย่าง แพร่หลายในปัจจุบัน

เมษายน - มิถุนายน 2563