วารสาร

ข้อมูล 6 รายการ
ผลการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันหลังรับการรักษา ด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (rt-PA) ในโรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น
Original Article

ผลการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันหลังรับการรักษา ด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (rt-PA) ในโรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น

สุภัคกาญจน์ นิจพานิช

โรคหลอดเลือดสมอง (cerebrovascular disease, stroke) เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 ของ ประชากรโลก และยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ใน ประเทศไทยพบว่าการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเป็น สาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 เช่นเดียวกัน โดยมีการศึกษา พบว่าความชุกของภาวะรักษาโรคหลอดเลือดสมอง ร้อย ละ 1.88 โดยสาเหตุส่วนใหญ่ที่พบโรคหลอดเลือดสมอง ขาดเลือดเฉียบพลัน (ischemic stroke)...

เมษายน - มิถุนายน 2566
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งผุในเด็ก 6 – 8 ปี อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด - ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ของทันตแพทย์ และทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล และโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดสุรินทร์ - การบริหารจัดการการดูแลผู้ป่วยในยุคปกติวิถีใหม่ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ - ผลการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน หลังรับการรักษาด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (rt-PA) ในโรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น - ยา Limaprost ในการรักษาโรคหลอดเลือดอักเสบตีบตัน และบรรเทาอาการเจ็บปวดของโรคโพรงกระดูกสันหลังเอวตีบแคบ

เมษายน - มิถุนายน 2566
ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือด ภายหลังได้รับและไม่ได้รับการรักษาด้วยยา rt-PA ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์
Original Article

ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือด ภายหลังได้รับและไม่ได้รับการรักษาด้วยยา rt-PA ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

นนทเกียรติ สมทรัพย์, ธนกฤต เบญจธรรมนนท์, ปิยะชาติ ทองทานธรรม, สหัชชัย ปรารมณ์, รักษิตา ปรีดี, สโรชา ตั้งเสถียรภาพ, สมพงษ์ ศรีแสนปาง, พรรษ โนนจุ้ย

โรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเป็นโรคที่มี ความสำคัญ และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับสาม ของประเทศไทย ซึ่งทำให้เกิดผลกระทบที่ตาม มาทั้งต่อตัวผู้ป่วยและผู้ดูแลในหลายๆ ด้าน เช่น ผลกระทบด้านร่างกาย การฟื้นตัว ผลแทรกซ้อน และภาระค่าใช้จ่ายต่างๆ เป็นต้น ทั้งนี้วิธีการรักษา ที่เป็นมาตรฐานสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ขาดเลือด คือ การใช้ยา rt-PA ภายในระยะเวลา 4.5 ชั่วโมง

มกราคม - มีนาคม 2563
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ทำไม PM 2.5 ถึงมีผลเสียต่อหลายอวัยวะ - ไขความลับของโพลีฟีนอลในการเสริมสร้างความจำ - ข้อควรพิจารณาการใช้ยากันชัก levetiracetam ชนิดชื่อสามัญอย่างปลอดภัย - ความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน กับการเกิดโรคฟันผุในฟันแท้ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น - ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือด ภายหลังได้รับและไม่ได้รับการรักษาด้วยยา rt-PA ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - Topiramate-induced Nephrolithiasis

มกราคม - มีนาคม 2563
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลทุติยภูมิระดับกลาง เขตเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 7
Original Article

คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลทุติยภูมิระดับกลาง เขตเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 7

หนึ่งฤทัย ยุบลชิต, ชัจคเณค์ แพรขาว, สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง (cerebrovascular disease, stroke) หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตเป็น โรคทางระบบประสาทที่พบบ่อยและเป็นปัญหา สาธารณสุขที่สำคัญของโลก องค์การอัมพาตโลก (World Stroke Organization, WSO) รายงาน สาเหตุจากการตายโรคหลอดเลือดสมอง เป็น อันดับ 2 ของประชากรอายุมากกว่า 60 ปี ทั่วโลก...

มกราคม - มีนาคม 2562
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- การตรวจสอบคุณสมบัติของเครื่องมือประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดปอดอักเสบในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง - คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลทุติยภูมิระดับกลาง เขตเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 7 - Creutzfeldt-Jakob Disease in Sanpasitthiprasong Public Referral Hospital in Ubon Ratchathani Northeast Thailand : A Case Series and Review of the Literature - ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการวินิจฉัยโรคสมองเสื่อม และภาวะพุทธิปัญญาบกพร่องเล็กน้อยในประชากรสูงวัย จังหวัดลำปาง - Abnormal Behavioral and Cognitive Impairment - คำถามการวิจัยที่ดี คือ อะไร และ อย่างไร

มกราคม - มีนาคม 2562