วารสาร

ข้อมูล 10 รายการ
ความเหมือนที่แตกต่าง Differences in the Face of Similarities
บทปกิณกะ

ความเหมือนที่แตกต่าง Differences in the Face of Similarities

สมชัย บวรกิตติ

มนุษย์เป็นตัวอย่างที่มีความเหมือนเชิงกายวิภาคและมีความแตกต่างด้านภาพลักษณ์ เช่น บุคลิกภาพ ความคิด การแสดงออกในรูปแบบต่างๆ บุหรี่เป็นอีกตัวอย่างที่มีความเหมือนและความแตกต่างกัน...

เมษายน - มิถุนายน 2566
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ของทันตแพทย์ และทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลและ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดสุรินทร์
Original Article

ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ของทันตแพทย์ และทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลและ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดสุรินทร์

พัทริกา สุขโรจน์, ปิยะฉัตร พัชรานุฉัตร, วิลาวัลย์ วีระอาชากุล

ผลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการ ดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2560 พบว่า จากจำนวน ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปทั้งสิ้น 55.9 ล้านคน เป็นผู้ที่ สูบบุหรี่ 10.7 ล้านคน (ร้อยละ 19.1) แยกเป็นผู้ที่สูบเป็น ประจำ ร้อยละ 16.8 และเป็นผู้ที่สูบนานๆ ครั้ง ร้อยละ 2.3 กลุ่มอายุ 25-44 ปี มีอัตราการสูบบุหรี่สูงที่สุด ร้อย ละ 21 ส่วนกลุ่มเยาวชนอายุ 15-19 ปี มีอัตราการสูบ บุหรี่ต่ำที่สุด ร้อยละ 9.7 เพศชายมีอัตราการสูบบุหรี่สูง กว่าเพศหญิงถึง 22 เท่า...

เมษายน - มิถุนายน 2566
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งผุในเด็ก 6 – 8 ปี อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด - ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ของทันตแพทย์ และทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล และโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดสุรินทร์ - การบริหารจัดการการดูแลผู้ป่วยในยุคปกติวิถีใหม่ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ - ผลการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน หลังรับการรักษาด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (rt-PA) ในโรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น - ยา Limaprost ในการรักษาโรคหลอดเลือดอักเสบตีบตัน และบรรเทาอาการเจ็บปวดของโรคโพรงกระดูกสันหลังเอวตีบแคบ

เมษายน - มิถุนายน 2566
บุหรี่มีควันกับบุหรี่ไร้ควัน : บริบทต่าง ?
บทความพิเศษ

บุหรี่มีควันกับบุหรี่ไร้ควัน : บริบทต่าง ?

สมชัย บวรกิตติ

นิยามบุหรี่เป็นคำนาม หมายถึง ยาสูบที่ใช้ ใบตอง หรือกระดาษเป็นต้น มวนใบยาที่หั่นเป็นฝอย (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ หน้า ๖๘๐) จากประสบการณ์ผู้เขียนอายุร่วม ๑๐๐ แล้ว พบว่าประชาชนคนไทยสูบบุหรี่กันมานานอย่างน้อย ๑๐๐ ปีแล้ว...

เมษายน - มิถุนายน 2565
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติ ทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อของนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย - การศึกษากลุ่มอาการภายหลังสมองบาดเจ็บในผู้ป่วยบาดเจ็บสมองที่มีเลือดออกเหนือเยื่อหุ้มสมองดูราและใต้เยื่อหุ้มสมองดูรา - โรคระบบประสาทเหตุการท่องเที่ยวในประเทศไทย - บุหรี่มีควันกับบุหรี่ไร้ควัน : บริบทต่าง ? - สู้โควิด-๑๙ คิดเอาเอง - น้ำมันพืชในควันกัญชา - ฝุ่นอนุภาคกับสุขภาพนักท่องเที่ยว - ข่าวสด PM2.5 - ครูต้นแบบ - จิตเวชศาสตร์การเดินทาง

เมษายน - มิถุนายน 2565
ประโยชน์ของนิโคทีน
บทปกิณกะ

ประโยชน์ของนิโคทีน

ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร, สมชัย บวรกิตติ

นักประสาทวิทยาศาสตร์รู้ดีว่านิโคทีนเป็น สารเสพติดรุนแรง แหล่งธรรมชาติที่สำคัญอยู่ใน ใบยาสูบ นิโคทีนเป็นสารต้นเหตุที่ทำให้คนเสพติด บุหรี่ ทียากจะปลดได้ การติดบุหรี่เป็นปัญหาระดับ โลกที่ทำให้เกิดการสูญเสียด้านต่างๆ มากมาย อย่างไรก็ตามสารอื่นในสูบบุหรี่นอกเหนือจาก นิโคทีนกมีส่วนสำคัญในการก่อโรคเช่นกันและ มากกว่าด้วยซ้ำ

ตุลาคม - ธันวาคม 2563
บุหรี่ชนิดเผาไหม้กับบุหรี่อุ่นไม่เผา
บทบรรณาธิการ

บุหรี่ชนิดเผาไหม้กับบุหรี่อุ่นไม่เผา

สมศักดิ์ เทียมเก่า, สมชัย บวรกิตติ

แพทย์ทั่วไปรู้จักกันดีถึงพิษภัยของ การสูบบุหรี่ยาสูบเผาไหม้ ซึ่งมีสารพิษมากกว่า 7 พันชนิด และ 250 ชนิดเป็นสารก่อโรคร้ายแก่ ผู้สูบ สารพิษที่สำคัญได้แก่ โลหะอาร์เสนิค เบอรีย์ลเลียม โฆรเมียม นิคเฅิล และแคดเมียม ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง และสารประกอบอินทรีย์ เอ็น-ไนทรอสอะมีน ที่เป็นสารก่อมะเร็งเช่นกัน นอกจากนั้นยังมีสารฮัยโดรคาร์บอนมากกว่า 1,200 ชนิด

ตุลาคม - ธันวาคม 2563
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 4

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- บุหรี่ชนิดเผาไหม้กับบุหรี่อุ่นไม่เผา - การทบทวนการใช้อิมมูโนโกลบูลินที่ให้ทางหลอดเลือดดำ ณ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การประเมินฤทธิ์ทางชีวภาพของพืชผักพื้นบ้านสำหรับพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ป้องกันอันตรายจากรังสีในผู้ป่วยรังสีร่วมรักษาระบบประสาท - คุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีความบกพร่องทางการรู้คิด - การศึกษาการจัดกลุ่มรายการยาในเภสัชตำรับ โรงพยาบาลศรีนครินทร์โดยใช้ ABC-VED Matrix - ผลของการประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีนในการปรับปรุงระบบเติมเต็มยาคงคลังของงานเภสัชกรรมโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การรับรู้ทางด่วนโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดระยะเฉียบพลัน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกระนวน จังหวัดขอนแก่น - ประโยชน์ของนิโคทีน - การจราจรในกรุงเทพมหานคร

ตุลาคม - ธันวาคม 2563
ความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน กับการเกิดโรคฟันผุในฟันแท้ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
Original Article

ความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน กับการเกิดโรคฟันผุในฟันแท้ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

กาญจนา สีหาราช, วิลาวัลย์ วีระอาชากุล

บุหรี่นับเป็นสิ่งเสพติดเพียงชนิดเดียวใน ปัจจุบันที่ยังมีการซื้อขายและเสพกันอย่าง ถูกกฎหมาย คนไทยจำนวนมากยังคงสูบบุหรี่ แม้ว่าจะทราบดีถึงพิษภัยอันสืบเนื่องมาจากบุหรี่ เป็นอย่างดี บุหรี่มีสารพิษเกือบ 4,000 ชนิด สารพิษ ที่กล่าวถึงมากที่สุดคือ นิโคติน (nicotine)

มกราคม - มีนาคม 2563
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ทำไม PM 2.5 ถึงมีผลเสียต่อหลายอวัยวะ - ไขความลับของโพลีฟีนอลในการเสริมสร้างความจำ - ข้อควรพิจารณาการใช้ยากันชัก levetiracetam ชนิดชื่อสามัญอย่างปลอดภัย - ความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน กับการเกิดโรคฟันผุในฟันแท้ของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น - ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือด ภายหลังได้รับและไม่ได้รับการรักษาด้วยยา rt-PA ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - Topiramate-induced Nephrolithiasis

มกราคม - มีนาคม 2563