วารสาร

ข้อมูล 9 รายการ
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ของทันตแพทย์ และทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลและ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดสุรินทร์
Original Article

ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ของทันตแพทย์ และทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลและ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดสุรินทร์

พัทริกา สุขโรจน์, ปิยะฉัตร พัชรานุฉัตร, วิลาวัลย์ วีระอาชากุล

ผลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการ ดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2560 พบว่า จากจำนวน ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปทั้งสิ้น 55.9 ล้านคน เป็นผู้ที่ สูบบุหรี่ 10.7 ล้านคน (ร้อยละ 19.1) แยกเป็นผู้ที่สูบเป็น ประจำ ร้อยละ 16.8 และเป็นผู้ที่สูบนานๆ ครั้ง ร้อยละ 2.3 กลุ่มอายุ 25-44 ปี มีอัตราการสูบบุหรี่สูงที่สุด ร้อย ละ 21 ส่วนกลุ่มเยาวชนอายุ 15-19 ปี มีอัตราการสูบ บุหรี่ต่ำที่สุด ร้อยละ 9.7 เพศชายมีอัตราการสูบบุหรี่สูง กว่าเพศหญิงถึง 22 เท่า...

เมษายน - มิถุนายน 2566
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่งผุในเด็ก 6 – 8 ปี อำเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด - ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการช่วยผู้ป่วยเลิกบุหรี่ของทันตแพทย์ และทันตาภิบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล และโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดสุรินทร์ - การบริหารจัดการการดูแลผู้ป่วยในยุคปกติวิถีใหม่ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ - ผลการรักษาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน หลังรับการรักษาด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลือด (rt-PA) ในโรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น - ยา Limaprost ในการรักษาโรคหลอดเลือดอักเสบตีบตัน และบรรเทาอาการเจ็บปวดของโรคโพรงกระดูกสันหลังเอวตีบแคบ

เมษายน - มิถุนายน 2566
คุณภาพการนอนหลับและปัจจัยที่สัมพันธ์ในนักศึกษาทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 1-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

คุณภาพการนอนหลับและปัจจัยที่สัมพันธ์ในนักศึกษาทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 1-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

วิลาวัลย์ วีระอาชากุล, รัชนีกร เสียงวังเวง, ศุภโชติ อุไรฤกษ์กุล, มนัสวี อรรถวรรธน, ศุภณัฐ วีระอาชากุล

การนอนหลับเป็นกระบวนการทางสรีรวิทยาพื้น ฐานของสิ่งมีชีวิต เพื่อคงไว้ซึ่งสุขภาพดีทั้งร่างกายจิตใจ และการใช้ชีวิตอย่างปกติสุขในการทำกิจกรรมแต่ละวัน โดยเวลาที่หลับจะมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของ อวัยวะไปในทางผ่อนคลาย คือ ระดับความรู้สึกตัวลดลง การตอบสนองต่อสิ่งเร้าและการเคลื่อนไหวร่างกายน้อย มากหรือไม่มีเลย

มกราคม - มีนาคม 2566
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- 14 ปี เส้นทางการเรียนรู้และพัฒนา Stroke Fast Track ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - กิจกรรมด้านสุขภาพอนามัย ของราชบัณฑิตยสภาในช่วง ๑๐๐ ปี - Obituary: Dr. Athasit Vejjajiva and I (1952-2023) - การศึกษาความเสี่ยงต่อการหกล้มในผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาในชุมชน อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี - คุณภาพการนอนหลับและปัจจัยที่สัมพันธ์ในนักศึกษาทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 1-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - Common Frustration in Emergency Neurological Conditions - การประยุกต์ใช้ดัชนีการต้านอนุมูลอิสระ และดัชนีต้านการอักเสบในการชะลอความจำเสื่อม - Task Shifting หรือ การมอบหมายงานตามความสามารถ - การแก้ปัญหาชั่วโมงการทำงานเกินเกณฑ์ภาระงานที่ควรจะเป็น - การรับการรักษาเบื้องต้นที่ร้านยาคุณภาพใกล้บ้าน - ความในใจของแพทย์ พยาบาล - บัตรทองเพิ่มบริการ "เภสัชกรรมปฐมภูมิ" - ผู้ป่วยแออัด รอนาน แก้ไขอย่างไร - การลดภาระงานด้วยการรับยาต่อเนื่อง

มกราคม - มีนาคม 2566
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติ ทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อของนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย
Original Article

ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติ ทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อของนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย

ศุภณัฐ วีระอาชากุล, วิลาวัลย์ วีระอาชากุล

กลุ่มอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้าม เนื้อ (musculoskeletal disorders: MSDs) เป็นกลุ่ม อาการที่ก่อให้เกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับข้อต่อ กล้ามเนื้อ เอ็นกล้ามเนื้อ เอ็นข้อต่อ เส้นประสาทและเนื้อเยื่ออ่อน อื่นๆ อันเนื่องมาจากการทำงาน โดยมีอาการสำคัญคือ มีอาการปวดหรือ เจ็บ เมื่อยล้า เคล็ด ตึง อักเสบ บวม แสบ ชา ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณ ข้อต่อและกล้ามเนื้อ ซึ่งไม่ครอบคลุมอันตรายที่เกิดจาก อุบัติเหตุ หรือโรคต่างๆ เช่น angina pectoris...

เมษายน - มิถุนายน 2565
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติ ทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อของนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย - การศึกษากลุ่มอาการภายหลังสมองบาดเจ็บในผู้ป่วยบาดเจ็บสมองที่มีเลือดออกเหนือเยื่อหุ้มสมองดูราและใต้เยื่อหุ้มสมองดูรา - โรคระบบประสาทเหตุการท่องเที่ยวในประเทศไทย - บุหรี่มีควันกับบุหรี่ไร้ควัน : บริบทต่าง ? - สู้โควิด-๑๙ คิดเอาเอง - น้ำมันพืชในควันกัญชา - ฝุ่นอนุภาคกับสุขภาพนักท่องเที่ยว - ข่าวสด PM2.5 - ครูต้นแบบ - จิตเวชศาสตร์การเดินทาง

เมษายน - มิถุนายน 2565
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบ โครงร่างและกล้ามเนื้อในนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Original Article

ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบ โครงร่างและกล้ามเนื้อในนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ศุภณัฐ วีระอาชากุล, วิลาวัลย์ วีระอาชากุล

กลุ่มอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและ กล้ามเนื้อ (musculoskeletal disorders: MSDs) เป็นกลุ่มอาการที่ก่อให้เกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับข้อต่อ กล้ามเนื้อ เอ็นกล้ามเนื้อ เอ็นข้อต่อ เส้นประสาท และเนื้อเยื่ออ่อนอื่นๆ อันเนื่องมาจากการทำงาน โดยมีอาการสำคัญคือมีอาการปวดหรือ เจ็บ เมื่อย ล้า เคล็ด ตึง อักเสบ บวม แสบ ชา ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย...

มกราคม - มีนาคม 2565
วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1

วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

- ภาพสุขภาพของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองในอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา - ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อในนักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 3-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - ผลของภาวะเลือดขยายตัวสู่ก้านสมองในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดภาวะเลือดออกในสมอง - การใช้ยากันชัก Sodium Valproate ในผู้หญิงโรคลมชัก - ยาที่ควรหลีกเลี่ยงในผู้ป่วยโรคมายแอสทีเนียกราวิส - พิษวิทยาของยา Baclofen ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย - โปรตีนอาหารเสริมป้องกันภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย - บทบาทพืชสมุนไพรต่อภาวะเครียดและระบบภูมิคุ้มกัน - กล้วยกับโรคพาร์ฅินสัน - Time to Act

มกราคม - มีนาคม 2565
การรักษาผู้ป่วยโรคระบบประสาทที่มีปัญหาทางทันตกรรม
Topic Review

การรักษาผู้ป่วยโรคระบบประสาทที่มีปัญหาทางทันตกรรม

สมศักดิ์ เทียมเก่า

ปัญหาทางทันตกรรมนั้นพบได้ในทุกคน รวมถึงผู้ป่วยโรคระบบประสาท ยิ่งมีปัญหาทาง ทันตกรรมที่พบบ่อย และซับซ้อนมากกว่าคนทั่วไป เพราะอาจเป็นอาการนำที่มาพบแพทย์ หรือ ทันตแพทย์ เช่น อาการปวดเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 (Trigeminal neuralgia) หรือเป็นผลข้างเคียง ของยาที่ใช้รักษาโรคระบบประสาท เช่น ภาวะ gum hypertrophy จากการใช้ยากันชัก phenytoin เป็นต้น

กรกฎาคม - กันยายน 2562